4. ในการเผาเหล็ก ( Fe ) 11.17 g กับกำมะถัน ( S ) 9.00 g พบว่ามีสารประกอบไอร์ออน ( II ) ซัลไฟด์ ( FeS ) เกิดขึ้นและมีกำมะถันเหลืออยู่ 2.59 g เมื่อทำการวิเคราะห์สารประกอบไอร์ออน ( II ) ซัลไฟด์พบว่ามีกำมะถันร้อยละ 36.47 โดยมวล จากผลการทดลองนี้เป็นไปตามกฎสัดส่วนคงที่หรือไม่ เพราะเหตุใด
ตอบ ครั้งที่ 1. สารประกอบไอร์ออน ( II ) ซัลไฟด์ เกิดจากการเผาเหล็ก 11.17 g กับกำมะถัน 9.00 g และมีกำมะถันเหลืออยู่ 2.59 g
ดังนั้น ใช้กำมะถันไป = 9.00 - 2.59 = 6.41 g
สารประกอบนี้มีอัตราส่วนโดยมวลของ Fe : S
= 11.17 : 6.41 = 1.74 : 1
ครั้งที่ 2. จากการวิเคราะห์สารประกอบไอร์ออน ( II ) ซัลไฟด์ พบว่ากำมะถันร้อยละ 36.47 โดนมวล
คือ องค์ประกอบจะมีเหล็กอยู่ = 100 - 36.47 = 63.53% โดยมวล
ดังนั้น อัตราส่วนโดยมวลของ Fe : S ในสารประกอบนี้
= 63.53 : 36.47 = 1.74 : 1
เพราะฉะนั้น การทดลองครั้งที่ 1 และ 2 นี้เป็นไปตามกฎสัดส่วนคงที่เพราะสารประกอบนี้มีอัตราส่วนโดยมวลของธาตูองค์ประกอบคงที่ไม่ว่าจะเกิดขึ้นด้วยวิธีใดก็ตาม
วันพฤหัสบดีที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
3. คาร์บอน ( C ) 1.20 g ทำปฏิกิริยาพอดีกับออกซิเจน ( O ) 3.19 g ได้แก๊สไม่มีสีชนิดหนึ่ง แก๊สชนิดเดียวกันนี้สามารถเตียมได้จากปฏิกิริยาระหว่างกรดไฮโดรคลอริก ( HCl ) กับแคลเซียมคาร์บอเนต ( CaCO3 ) ซึ่งวิเคราะห์แล้วพบว่าประกอบด้วยคาร์บอนร้อยละ 27.3 โดยมวล ข้อมูลเหล่านี้เป็นไปตามกฎทรงมวลหรือกฎสัดส่วนคงที่จงอธิบาย
ตอบ
แก๊สไม่มีสีชนิดหนึ่งเกิดจากคาร์บอน 1.2 g ทำปฏิกิริยาพอดีกับออกซิเจน 3.19 g
ดังนั้น แก๊สมีอัตราส่วนโดยมวลของ C : O = 1.2 : 3.19
= 1 : 2.66
และแก๊สชนิดเดียวกันนี้เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างกรดไฮโดรคลอริกกับแคลเซียมคาร์บอเนต ซึ่งประกอบด้วยคาร์บอน 27.3 % โดยมวล
ดังนั้น แก๊สนี้ประกอบด้วยออกซิเจน = 100 - 27.3 = 72.7% โดยมวลเช่นกัน
เพราะฉะนั้นแก๊สนี้ก็จะมีอัตราส่วนโดยมวลของ C : O = 27.3 : 72.7
= 1 : 2.66
จากข้อมูลที่ 1 และ 2 นี้สนับสนุนกฎสัดส่วนคงที่ เพราะอัตราส่วนโดยมวลของธาตุที่รวมกันเป็นสารประกอบมีค่าที่ไท่ว่าสารประกอบนั้นจะเกิดขึ้นโดยวิธีใดก็ตาม
ตอบ
แก๊สไม่มีสีชนิดหนึ่งเกิดจากคาร์บอน 1.2 g ทำปฏิกิริยาพอดีกับออกซิเจน 3.19 g
ดังนั้น แก๊สมีอัตราส่วนโดยมวลของ C : O = 1.2 : 3.19
= 1 : 2.66
และแก๊สชนิดเดียวกันนี้เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างกรดไฮโดรคลอริกกับแคลเซียมคาร์บอเนต ซึ่งประกอบด้วยคาร์บอน 27.3 % โดยมวล
ดังนั้น แก๊สนี้ประกอบด้วยออกซิเจน = 100 - 27.3 = 72.7% โดยมวลเช่นกัน
เพราะฉะนั้นแก๊สนี้ก็จะมีอัตราส่วนโดยมวลของ C : O = 27.3 : 72.7
= 1 : 2.66
จากข้อมูลที่ 1 และ 2 นี้สนับสนุนกฎสัดส่วนคงที่ เพราะอัตราส่วนโดยมวลของธาตุที่รวมกันเป็นสารประกอบมีค่าที่ไท่ว่าสารประกอบนั้นจะเกิดขึ้นโดยวิธีใดก็ตาม
แบบฝึกหัด 4.12
แบบฝึกหัด
2. โซเดียม (Na) 2.30 g ที่ทำปฏิกิริยาพอดีกับคลอรีน (Cl) 3.55 g จะได้โวเดียมคลอไรด์ (NaCl) เกิดขึ้นกี่กรัม และเมื่อเกลือโซเดียมคลอไรด์ 2.92 g มาวิเคราะห์พบว่าประกอบด้วยคลอรีน 1.77 g จงแสดงว่าการเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์เป็นไปตามกฎสัดส่วนคงที่
ตอบ
ครั้งที่ 1. โซเดียมคลอไรด์มีอัตราส่วนโดยมวลของ Na : Cl
= 2.3 : 3.55 = 1 : 1.54
ครั้งที่ 2. เกลือโซเดียมคลอไรด์ 2.92 g พบว่าคลอรีน = 1.77 g
ดังนั้น เกลือนี้มีโดยมวลของ Na : Cl ในเกลือนี้
= 1.15 : 1.77 = 1 : 1.54
เพราะฉะนั้น ทั้งครั้งที่ 1 และ 2 เป็นข้อมูลที่แสดงว่าการเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์เป็นไปตามกฎสัดส่วนคงที่ เพราะอัตราส่วนโดยมวลของธาตุองค์ประกอบมีค่าคงที่เสมอ ไม่ว่าสารนั้นจะเกิดด้วยวิธีใดก็ตาม
= 2.3 : 3.55 = 1 : 1.54
ครั้งที่ 2. เกลือโซเดียมคลอไรด์ 2.92 g พบว่าคลอรีน = 1.77 g
ดังนั้น เกลือนี้มีโดยมวลของ Na : Cl ในเกลือนี้
= 1.15 : 1.77 = 1 : 1.54
เพราะฉะนั้น ทั้งครั้งที่ 1 และ 2 เป็นข้อมูลที่แสดงว่าการเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์เป็นไปตามกฎสัดส่วนคงที่ เพราะอัตราส่วนโดยมวลของธาตุองค์ประกอบมีค่าคงที่เสมอ ไม่ว่าสารนั้นจะเกิดด้วยวิธีใดก็ตาม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)